New IT Product

วันเสาร์ที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

Sufficiency economy or Localism in Thailand(เศรษฐกิจพอเพียง)

Sufficiency economy or Localism in Thailand(เศรษฐกิจพอเพียง)


                       ต้องการซื้อที่ดิน สำหรับ การเกษตรครบวงจร, ทำฟาร์ม หรือ จัดการแบบเศรษฐกิจพอเพียง  
                              เราต้องการซื้อที่ดิน ตั้งแต่ 70-7,000ไร่/แปลง สำหรับ การเกษตรครบวงจร(การทำนา,การเลี้ยงปลา, การเลี้ยงสัตว์ปีก, การเลี้ยงสัตว์สี่เท้า, การเพาะเห็ด,การปลูกไม้ผล), ไร่นาสวนผสม, การพัฒนาการเกษตรอย่างยั่งยืน, การเกษตรปลอดสารพิษ ทำฟาร์ม หรือ จัดการแบบเศรษฐกิจพอเพียง และ การเกษตรธุรกิจ(ยางพารา, มันสำปะหลัง,อ้อย ฯลฯ ) เอกสารสิทธิ์ เป็น โฉนด, นส.3ก. นส.3  ราคาตามสภาพท้องถิ่น พร้อมให้คำปรึกษา การดำเนินการ สนใจขายที่ดิน ติดต่อด่วน โทร.084-2184401 
E-mail; sufficiency7economy@gmail.com
http://sufficiency7economy.blogspot.com/ 
   
                  The chief proponent of localism in Thailand or moso (Moderation society) is King Bhumibol Adulyadej's "the philosophy of Sufficiency Economy". The foundations of King Bhumibol's theory included sustainability, moderation and broad-based development. The Learning Centre of King Bhumibol’s Philosophy of Economic Sufficiency claimed the concept focused on living a moderate, self-dependent life without greed or overexploitation of, for example, natural resources.
After a coup d'état, the military junta claimed that the policies of deposed Prime Minister Thaksin Shinawatra, were inconsistent with the theory.[1] The preamble of the junta's new constitution stated that promotion of self-sufficiency was one of the fundamental roles of the state.[2]
The Junta-appointed Prime Minister Surayud Chulanont pledged to allocate 10 billion baht (almost US$300 million) for projects to promote well-being in line with King Bhumibol's sufficiency economy principle. He made the pledge while participating in King Bhumibol's 80th birthday celebrations.[3]
In 2007, the Democrat Party-run Bangkok Metropolitan Administration gave away a million baht to each city community that joined the ”Self-sufficiency Community Plan According to His Majesty the King’s Self-sufficiency Initiative.”[citation needed]
Foreigners were for the most part left confused. After a meeting with Ministry of Finance officials where the need for more sufficiency was explained, Standard & Poor's director of sovereign ratings noted, "No one knows what [sufficiency economy] really means."[2] The Asia Times noted that, "There is a concurrent risk that the royal philosophy will be twisted by less scrupulous government officials as an opportunity to abuse their authority for rent-seeking and extortion, particularly among foreign-invested concerns".

เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่ชี้แนวทางการดำรงชีวิต ที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระราชดำรัสแก่ชาวไทยนับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2517 เป็นต้นมา[1][2] และถูกพูดถึงอย่างชัดเจนในวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2540 เพื่อเป็นแนวทางการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจของประเทศไทย ให้สามารถดำรงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนในกระแสโลกาภิวัตน์และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ[3]
เศรษฐกิจพอเพียงมีบทบาทต่อการกำหนดอุดมการณ์การพัฒนาของประเทศ โดยปัญญาชนในสังคมไทยหลายท่านได้ร่วมแสดงความคิดเห็น อย่างเช่น ศ.นพ.ประเวศ วะสีศ.เสน่ห์ จามริกศ.อภิชัย พันธเสน, และศ.ฉัตรทิพย์ นาถสุภา โดยเชื่อมโยงแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงเข้ากับวัฒนธรรมชุมชน ซึ่งเคยถูกเสนอมาก่อนหน้าโดยองค์กรพัฒนาเอกชนจำนวนหนึ่งนับตั้งแต่พุทธทศวรรษ 2520 และได้ช่วยให้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางในสังคมไทย
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติได้เชิญผู้ทรงคุณวุฒิในทางเศรษฐกิจและสาขาอื่น ๆ มาร่วมกันประมวลและกลั่นกรองพระราชดำรัสเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อบรรจุในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9[3][4] และได้จัดทำเป็นบทความเรื่อง "ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง" และได้นำความกราบบังคลทูลพระกรุณาขอพระราชทานพระบรมราชวินิจฉัย เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2542 โดยทรงพระกรุณาปรับปรุงแก้ไขพระราชทานและทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้นำบทความที่ทรงแก้ไขแล้วไปเผยแพร่ เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติของสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนประชาชนโดยทั่วไป เมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนี้ได้รับการเชิดชูเป็นอย่างสูงจากองค์การสหประชาชาติ ว่าเป็นปรัชญาที่มีประโยชน์ต่อประเทศไทยและนานาประเทศ[5] และสนับสนุนให้ประเทศสมาชิกยึดเป็นแนวทางสู่การพัฒนาแบบยั่งยืน[6]โดยมีนักวิชาการและนักเศรษฐศาสตร์หลายคนเห็นด้วยกับแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง แต่ในขณะเดียวกัน บางสื่อได้มีการตั้งคำถามถึงการยกย่องขององค์การสหประชาชาติ รวมทั้งความน่าเชื่อถือของรายงานศึกษาและท่าทีขององค์การ



 

 




 


 






ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น